คำถามหลัก (Big
Questions) : - เงินมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของคนเราอย่างไร
- ถ้าไม่มีเงินจะเป็นอย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา :
ในปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าในด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว
ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์เป็นอย่างมาก รายได้เพิ่มช้ากว่าหนี้สินและสวนทางกับอัตราการออม
ส่งผลให้รายได้ไม่เพียงพอหรือติดลบ
ซึ่งก่อให้เกิดความเครียดและปัญหาต่างๆตามมา เช่น การทะเลาะวิวาท การลักขโมย
อาชญาการรม รวมทั้งปัญหาความยากจน นับได้ว่าเงินมีความสําคัญต่อชีวิต
เศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของมนุษย์อย่างมาก ไม่ว่ามนุษย์จะอยู่ในประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบใดก็ย่อมอาศัยเงินเป็นสําคัญ
ซึ่งที่มาของเงินแต่ละประเทศมีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
สังคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ เนื่องจากเงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
การบริหารจัดการเรื่องเงินจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับทุกวัย
ดังนั้นจึงจำเป็นที่นักเรียนเรียนรู้ เพื่อเข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญของเงินและการออมทรัพย์
รวมทั้งสามารถบริหารจัดการทางการเงินของตนเองได้
เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding
Goal) :
เพื่อเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผน
บริหารจัดการทางการเงิน และตระหนักถึงความสําคัญของการออมทรัพย์ สามารถจัดการทางการเงินของตนเองในชีวิตประจำวันได้อย่างคุ้มค่า
ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
PBL
(Problem Based Learning)
หน่วย : "เงิน เงิน เงิน"
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2557
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
กิจกรรมระยะยาว
|
1
27 - 31 ต.ค.
2557
|
โจทย์ :
-
สร้างฉันทะ แรงบันดาลใจ/ ปะทะปัญหา
-
สิ่งที่อยากเรียนรู้
Key
Questions
-
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเล่นเกม
และสามารถนำไปใช้ในชีวิตได้อย่างไร
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างในเหรียญ
ธนบัตร และคิดว่าสิ่งที่อยู่บนเหรียญหรือ
ธนบัตรมีที่มาและความสำคัญอย่างไร เราจะสามารถเรียนรู้อะไรได้บ้าง
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:การร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหรียญหรือ ธนบัตร จากการสังเกต
ฟังและจากคำถาม
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เกม รวมเงิน,เศรษฐศาสตร์
- เงินเหรียญ
ธนบัตร
-
คลิป edit เบี้ยกุดชุม
- หนัง เรื่อง Charlie and the Chocolate Factory ชาร์ลีกับโรงงานช็อกโกแลต
- ข่าว บทความ
-
บรรยากาศในห้องเรียน
-
ห้องเรียน
|
-
ครูพานักเรียนเล่นเกม เศรษฐศาสตร์
- แบ่งกลุ่มนักเรียนโดยพานักเรียนเล่นเกม “รวมเงิน”
-
ครูแจกธนบัตรและเหรียญให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
แล้วครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างในเหรียญ ธนบัตร
และคิดว่าสิ่งที่อยู่บนเหรียญหรือ ธนบัตรมีที่มาและความสำคัญอย่างไร
เราจะสามารถเรียนรู้อะไรได้บ้าง
- ครูเปิดคลิป edit
เบี้ยกุดชุม ให้นักเรียนดู
- นักเรียนดูหนัง เรื่อง
- ครูนำข่าว และบทความให้หนักเรียนอ่าน
- เป็นหนี้นอกระบบ
- ชาวนาโดนโกงราคาข้าว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
- การเล่นเกมเศรษฐศาสตร์การซื้อขายบ้าน
และเกมการรวมเงิน
-
การร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหรียญหรือ ธนบัตร จากการสังเกต
ฟังและจากคำถาม
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการหนัง เรื่อง Charlie and the Chocolate Factory ชาร์ลีกับโรงงานช็อกโกแลต
-
การคิดวิเคราะห์ข่าว บทความ และ
- การออกแบบวางแผนการบริหารเงินของห้อง
ชิ้นงาน
:
-
Mind
Mapping วิเคราะห์เหรียญ
และธนบัตร
- แบบแผนการบริหารจัดการเงินห้องเพื่อเพิ่มมูลค่า
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยาก เรียนรู้ รวมทั้งสามารถให้เหตุผลเรื่องที่สนใจได้
ทักษะ :
ทักษะการเรียนรู้
-
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้พบเจอ และสามารถนำเสนอแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองได้
-
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมและเล่นเกม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ได้ดูกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถคิดวิเคราะห์
เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
คุณลักษณะ
-
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
กล้าแสดงความคิดเห็น
|
เลี้ยงไก่ไข่ +
เพาะเลี้ยงแหนแดง
|
2
3 – 7 พ.ย. 2557
|
โจทย์ :
การออกแบบและวางแผนการเรียนรู้
- เลือกหัวข้อ
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind mapping ก่อนเรียน
Key
Questions :
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไร เห็นอะไร และรู้สึกอย่างไร จากสิ่งที่ได้ดู - คำถาม นักเรียนคิดว่าเงินเกี่ยวข้องกับตัวเราอย่างไร
และถ้าไม่มีเงินเราจะอยู่ได้อย่างไร
- นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงินในสังคมปัจจุบัน
-
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter นี้
-
นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
Brainstorms
: วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
Card & Chart : เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Think Pair Share : สิ่งที่รู้แล้วและ
สิ่งที่อยากรู้
Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
Mind Mapping : สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
Blackboard Share : การตั้งชื่อหน่วย
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
-
คลิป ปัญหาความยากจน
การว่างงาน
- ห้องสมุด
- บรรยากาศในห้องเรียน
|
- ครูนำภาพสถานที่ ที่บันทึกในเงินเหรียญให้นักเรียนดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าสถานที่ในภาพคือที่ใด
- ครูนำภาพกระดาษ ติดบนบอร์ด
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าสถานที่ที่ได้ดู
ถูกบันทึกอยู่ในเหรียญประเภทใด
ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
นักเรียนคิดว่าเงินเกี่ยวข้องกับตัวเราอย่างไร
และถ้าไม่มีเงินเราจะอยู่ได้อย่างไร
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter นี้
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
- นักเรียนคิดว่าควรจะตั้งชื่อ
หน่วย นี้ให้น่าสนใจได้อย่างไร
-นักเรียนร่วมกันนำสิ่งที่อยากเรียนรู้มาออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ลงในกระดาษชาร์ต
และเขียนสรุปองค์ความรู้ ก่อนการเรียนรู้ในรูปแบบ Mind
Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามและความคิดเห็นที่ได้ฟัง - การตั้งชื่อหัวข้อ หน่วย
-
การวิเคราะห์สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน
-
การออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- การสรุป Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
ชิ้นงาน :
-
ชื่อ หน่วย
-
สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้
-
ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind
Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
สามารถทบทวนความรู้ความเข้าใจก่อนเรียนผ่านการเขียนสิ่งที่รู้แล้ว, Mind mapping และสามารถออกแบบวางแผน
กระบวนการเรียนรู้ตลอด 9สัปดาห์ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
-
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
ทักษะการสื่อสาร
สามารถพูดอธิบายนำเสนอปฏิทินการเรียนรู้ให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผล
ทักษะการจัดการข้อมูล
- คิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำ Mind Mapping ก่อนเรียน
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
- คิดวางแผนเนื้อหาและกิจกรรมที่อยากเรียนรู้ให้สอดคล้องกัน
- คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหา
คุณลักษณะ
-
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
กล้าแสดงความคิดเห็น
-
มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
|
|
3 - 4
10 - 14 พ.ย2557
|
โจทย์ :
ประวัติศาสตร์ สังคมวัฒนธรรม หน้าที่พลเมือง
อัตราการแลกเปลี่ยน
สกุลเงิน
Key
Questions
-
นักเรียนคิดว่ารูปภาพที่อยู่บนเหรียญและธนบัตรของแต่ละประเทศ(ลาว พม่า
กัมพูชา ไทย จีน) มีที่มาและความสำคัญอย่างไร
-
นักเรียนคิดว่าเงินในสมัยก่อนกับปัจจุบันมีที่มาและแตกต่างกันอย่างไร
-
นักเรียน คิดว่าจากอดีตจนถึงปัจจุบันเงินมีบทบาทหน้าที่
และเกี่ยวข้องนักเรียนกับชีวิตเราอย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:การร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับที่มาและความแตกต่างของเงินในสมัยก่อน
กับปัจจุบัน และจากสิ่งที่ได้ดู
Round Table : บทบาทหน้าที่ของเงินที่มีความสัมพันธ์กับชีวิต
Show
and Share : นำเสนอ Time line
วิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม
ของแต่ละประเทศ
Wall Thinking : Time line วิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม
ของแต่ละประเทศ
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เหรียญ ธนบัตร
-
คลิปวิวัฒนาการเงินตราไทย
-
อินเทอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- บรรยากาศในห้องเรียน
|
- ครูนำเหรียญ ธนบัตร
ชนิดต่างๆทั้งของไทยและต่างประเทศ มาให้นักเรียนดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่ารูปภาพที่อยู่บนเหรียญและธนบัตรของแต่ละประเทศ(ลาว
พม่า กัมพูชา ไทย จีน) มีที่มาและความสำคัญอย่างไร
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
-
แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาที่มาและความสำคัญของเหรียญและธนบัตรอัตราการแลกเปลี่ยน
สกุลเงิน ของแต่ละประเทศที่ต้องการศึกษา
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆตามความสนใจ
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าเงินในสมัยก่อนกับปัจจุบันมีที่มาและแตกต่างกันอย่างไร
-
แบ่งกลุ่มนักเรียนจัดกลุ่มลักษณะภาพของเงินให้เป็นหมวดหมู่ตามยุคสมัยและการเปลี่ยนแปลงของในแต่ละประเทศ(ลาว
พม่า กัมพูชา ไทย จีน) ตามความเข้าใจ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม
ของแต่ละประเทศ ในรูปแบบTime line
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ
Time
line
วิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม
ของแต่ละประเทศ
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียน คิดว่าจากอดีตจนถึงปัจจุบันเงินมีบทบาทหน้าที่
และเกี่ยวข้องนักเรียนกับชีวิตเราอย่างไรบ้าง
-
นักเรียนจับคู่สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ความเป็นมา วิวัฒนาการของเงินแต่ละประเทศในรูปแบบการ์ตูนช่อง
-
นักเรียนแต่ละคู่นำเสนอชิ้นงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับที่มาและความแตกต่างของเงินในสมัยก่อน
กับปัจจุบัน
- การออกแบบ Time line วิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์
เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม ของแต่ละประเทศ
ชิ้นงาน
-
Time line
วิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม
ของแต่ละประเทศ และนำเสนอ
- การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมา
วิวัฒนาการของเงินแต่ละประเทศ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ สังคมวัฒนธรรม
บุคคลสำคัญที่มีความสัมพันธ์กับเงินของแต่ละประเทศ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
-
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
การวางแผนการทำงาน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
คุณลักษณะ
-
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
กล้าแสดงความคิดเห็น
|
|
5
24 – 28 พ.ย. 2557
|
โจทย์ :
-
ระบบเศรษฐกิจและการเมือง
Key
Questions
-
ทำไมประเทศเกาหลีต้องแบ่งประเทศเป็นเกาหลีเหนือกับเกาหลีใต้
-
ระบบเศรษฐกิจในโลกที่แต่ละประเทศใช้กันเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
-
ทำไมจำนวนค่าของเงินบนธนบัตรบางประเทศจึงมีค่าน้อยและมากแตกต่างกัน
เครื่องมือคิด
Round
Table : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี
Brainstorms
: ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นจากการดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี
Show
and Share : นำเสนอและแลกเปลี่ยนสิ่งที่ไปศึกษาเรียนรู้
ชักเย่อความคิด : ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวระบบเศรษฐกิจที่เหมาะสมกับประเทศไทย (ระบบทุนนิยม กับ ระบบสังคมนิยม)
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปประวัติสงครามเกาหลี
- อุปกรณ์กิจกรรมชักเย่อความคิด (กระดาษ เชือก
เทปกาว)
-
บรรยากาศในห้องเรียน
-
อินเทอร์เน็ต
-
ห้องเรียน
|
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดทำไมจำนวนค่าของเงินบนธนบัตรบางประเทศจึงมีค่าน้อยและมากแตกต่างกัน?
-
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
-
นักเรียนดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี
-
แบ่งกลุ่มนักเรียน สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ (Round Table)
-
ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นจากการดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนคิดว่ารูปแบบการปกครองมีส่งต่อระบบเศรษฐกิจของแต่ละประเทศหรือไม่อย่างไร
-
นักเรียนคิดว่ามีประเทศใดอีกบ้างที่มีประวัติศาสตร์สงครามและส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
-
ครูให้นักเรียนจับฉลากเลือกประเทศเพื่อไปศึกษาค้นคว้า
และจัดทำข้อมูลเพื่อสร้างความเข้าใจลงในสมุดบันทึก
เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจและการเมือง (แบ่งเป็น
ประเทศที่ปกครองตามแนวคิดการเมืองรูปแบบต่างๆ คือ สังคมนิยม, ทุนนิยม และแบบผสม)
ประเทศที่ศึกษา
ได้แก่ คิวบา, เกาหลี, ลาว, เวียดนาม,
เยเมน, พม่า,เยอรมัน,ซิมบับเว่ เป็นต้น
-
นักเรียนแต่ละคนร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการปกครองกับระบบเศรษฐกิจ
-
นักเรียนแต่ละคนสร้าง Flow chart สรุปความเข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการปกครองกับระบบเศรษฐกิจ
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าระบบเศรษฐกิจใดดีที่สุด
-
นักเรียนแต่ละคนร่วมกันชักเย่อความคิด
นักเรียนชอบระบบเศรษฐกิจแบบไหน (ระบบทุนนิยม กับ ระบบสังคมนิยม)
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- การร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากการดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี
-
การสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ (Round Table)
-
การร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นจากการดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี
-
การศึกษาค้นคว้า และจัดทำข้อมูลเพื่อสร้างความเข้าใจลงในสมุดบันทึก
-
การร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการปกครองกับระบบเศรษฐกิจ
-
การร่วมกันชักเย่อความคิด ระบบเศรษฐกิจแบบใด เหมาะกับประเทศไทย? (ระบบทุนนิยม กับ ระบบสังคม
ชิ้นงาน :
-
สร้าง Flow chart สรุปความเข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการปกครองกับระบบเศรษฐกิจ
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ความแตกต่างของระบบเศรษฐกิจ
ตามการปกครองรูปแบบต่างๆ รวมทั้งสามารถเชื่อมโยง
และมองเห็นความสัมพันธ์ของระบบเศรษฐกิจของไทยได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
-
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
-
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้พบเจอ และสามารถนำเสนอแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองได้
ทักษะการเรียนรู้
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
ทักษะการจัดการข้อมูล
-
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล
และสรุปความเข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการปกครองกับระบบเศรษฐกิจ
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหา
คุณลักษณะ
-
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
กล้าแสดงความคิดเห็น
|
|
6
1 – 5 ธ.ค. 2557
|
โจทย์ :
- ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
Key
Questions :
-
ทำไมสินค้าบางชนิดจึงมีราคาแพง
ทำไมเราควรรับประทานผลไม้ตามฤดูกาล?
ทำไมเนื้อวัวจึงมีราคาแพงกว่าเนื้อหมู?
- ในการใช้ชีวิตของเราอะไรที่ไม่ถูกต้องตามหลักเศรษฐศาสตร์
เครื่องมือคิด :
Brainstorms :
- อภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
-
อภิปรายเกี่ยวกับใช้ชีวิตโดยใช้หลักทางเศรษฐศาสตร์ร่วมกัน
Blackboard share : ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกม (คุ้ม-ไม่คุ้ม, ความเสี่ยง, กำไร-ขาดทุน, การออม-การลงทุน)
Show and Share : นำเสนอและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับคำถามทางเศรษฐศาสตร์
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
-
เกมเศรษฐี เกมไพ่ For Sale และเกมกระดาน Survive
-
คำถามทางเศรษฐศาสตร์
- บรรยากาศในห้องเรียน
-
อินเตอร์เน็ต
-
ห้องเรียน
|
-
นักเรียนเล่นเกมเศรษฐี เกมไพ่ Garden Trade เกม
Live and Learn และเกมกระดาน Survive
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการทำกิจกรรม
- นักเรียนแต่ละคนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกม
ในรูปแบบ Blackboard share
(คุ้ม-ไม่คุ้ม,
ความเสี่ยง, กำไร-ขาดทุน, การออม-การลงทุน)
-
ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน ให้แต่ละกลุ่มวิเคราะห์คำถามต่อไปนี้
ทำไมสินค้าบางชนิด
(รถ, นาฬิกา, แหวนเพชร)จึงมีราคาแพง?
ทำไมซื้อเสื้อกันหนาวในฤดูหนาวจึงมีราคาแพง?
ทำไมเราควรรับประทานผลไม้ตามฤดูกาล?
ทำไมเนื้อวัวจึงมีราคาแพงกว่าเนื้อหมู?
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์คำถามทางเศรษฐศาสตร์ และนำเสนอในรูปแบบแผนภาพ
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าหลักเศรษฐศาสตร์มีความจำเป็นในชีวิตประจำวันอย่างไร
(การเลือก, ค่าเสียโอกาส, การจัดการทรัพยากร)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าในการใช้ชีวิตของเราอะไรที่ไม่ถูกต้องตามหลักเศรษฐศาสตร์
- นักเรียนแต่ละคนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนแผนภาพการใช้ชีวิตที่ไม่ถูกต้องตามหลักเศรษฐศาสตร์
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอแผนภาพของตนเอง
- ครูและนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับใช้ชีวิตโดยใช้หลักทางเศรษฐศาสตร์ร่วมกัน
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- การเล่นเกมเศรษฐี เกมไพ่ For Sale และเกมกระดาน Survive
-
การร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกม
โดยใช้เครื่องมือคิด Blackboard share (คุ้ม-ไม่คุ้ม, ความเสี่ยง, กำไร-ขาดทุน, การออม-การลงทุน)
- การอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
-
การแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มาใช้อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
-
การอภิปรายเกี่ยวกับใช้ชีวิตโดยใช้หลักทางเศรษฐศาสตร์ร่วมกัน
ชิ้นงาน :
-
ร่วมกันวิเคราะห์คำถามทางเศรษฐศาสตร์ และนำเสนอในรูปแบบแผนภาพ
-
ออกแบบการใช้ชีวิตโดยใช้หลักทางเศรษฐศาสตร์ตามความสนใจ
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
- เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับหลักเศรษฐศาสตร์
รวมทั้งสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
-
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
-
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้พบเจอ และสามารถนำเสนอแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองได้
ทักษะการเรียนรู้
-
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
ทักษะการจัดการข้อมูล
- คิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับหลักเศรษฐศาสตร์ผ่าน
เกมไพ่
For
Sale และเกมกระดาน Survive
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
- คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหา
คุณลักษณะ
-
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|
7
8 – 12 ธ.ค.
2557
|
โจทย์ :
-
การออมและการลงทุนประเภทต่างๆ
-
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการออมและการลงทุน
Key
Questions
-
ทำไมต้องมีธนาคาร
- การออม และการลงทุนมีความจำเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Placemat : ร่วมกันวิเคราะห์บทความเกี่ยวกับชีวิตคนที่ประสบความสำเร็จและความล้มเหลวในการจัดการเรื่องเงิน
Brainstorms
: ครู และนักเรียนอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
Show
and Share : แลกเปลี่ยนนำเสนอการวิเคราะห์บทความร่วมกัน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บทความเกี่ยวกับชีวิตคนที่ประสบความสำเร็จและความล้มเหลวในการจัดการเรื่องเงิน
- เกมการออมการลงทุน
-
บรรยากาศในห้องเรียน
-
อินเทอร์เน็ต
-
ห้องเรียน
|
-
ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาบทความเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิตคนที่ประสบความสำเร็จและความล้มเหลวในการจัดการเรื่องเงิน
เช่น รัตนพล ส.วรพิน โอปราห์ วินฟรีย์ เทพ โพธิ์งาม ศิริวัฒน์แซนวิช
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนคิดว่า(1) ปัญหาที่เกิดขึ้นคืออะไร
(2) เกิดผลกระทบอย่างไร
(3) นักเรียนได้เรียนรู้อะไร
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์บทความในรูปแบบ Placemat
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอการวิเคราะห์บทความร่วมกัน
-
ครู และนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนเล่นเกมการออมการลงทุน ของตลาดหลักทรัพย์
ตัวอย่างคำถาม : มานะ
เริ่มออมทรัพย์ตั้งแต่อายุ 25 ปี ปีละ 27,800 บาท ด้วยอัตราดอกเบี้ย 7% ต่อปี
หากแต่ว่านักเรียนเริ่มออมทรัพย์ตั้งแต่อายุ 40 ปี ดอกเบี้ยปีละ
7% ในอัตราเงินฝากเท่าไร จึงจะมีเงินเก็บมากกว่าหรือเท่ากับมานะ
เมื่ออายุครบ 60 ปี (ไม่เกิน 20%
ของเงินเก็บของมานะ)
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการเล่นเกม
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
จากเงินห้องที่มีอยู่
นักเรียนแต่ละคนจะเลือกการออมและการลงทุนรูปแบบใดที่คิดว่าจะเกิดประโยชน์สูงสุด
-
นักเรียนแต่ละคนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบการออมและการลงทุน
-
นักเรียนแต่ละคนวาดแผนภาพการบริหารจัดการเงินห้องในรูปแบบการออมและการลงทุนตามที่ตนเองสนใจ(เทียบกับแผนการจัดการเงินห้องที่ให้ออกแบบก่อนเรียนรู้อีกครั้ง)
- ครูและนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับรูปแบบการออมและการลงทุนประเภทต่างๆ
ร่วมกัน
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
-
การศึกษาและวิเคราะห์บทความเกี่ยวกับชีวิตคนที่ประสบความสำเร็จและความล้มเหลวในการจัดการเรื่องเงิน
-
การแลกเปลี่ยนนำเสนอการวิเคราะห์บทความร่วมกัน
-
การอภิปรายเกี่ยวกับบทความร่วมกัน
-
การเล่นเกมการออมการลงทุน ของตลาดหลักทรัพย์
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเล่นเกมการออมการลงทุนร่วมกัน
-
การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบการออมและการลงทุน
-
การอภิปรายเกี่ยวกับรูปแบบการออมและการลงทุนประเภทต่างๆ
ร่วมกัน
ชิ้นงาน :
-
วาดแผนภาพการบริหารจัดการเงินห้องในรูปแบบการออมและการลงทุนตามที่ตนเองสนใจ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและเห็นความแตกต่างของการออกมและการลงทุนประเภทต่างๆ
รวมทั้งสามารถเลือกใช้การออมและการลงทุนที่เหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
-
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
-
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้พบเจอ และสามารถนำเสนอแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองได้
ทักษะการเรียนรู้
-
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
- คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหา
คุณลักษณะ
-
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
กล้าแสดงความคิดเห็น
|
|
8
15 – 19 ธ.ค.
2557
|
โจทย์ :
-
การทำธุรกิจ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
Key
Questions :
-
นักเรียนสามารถวางแผนและจัดการบริหารธุรกิจของห้องเรียน
(เลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงปลาดุก) ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Mind
Mapping : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากเสวนาเกี่ยวกับผู้ประกอบการทางธุรกิจประเภทต่างๆ
Show
and Share : นำเสนอแผนการจัดการบริหารธุรกิจของห้องเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
วิทยากร
-
บรรยากาศในห้องเรียน
-
อินเทอร์เน็ต
-
ห้องเรียน
|
- ครูจัดเสวนาเกี่ยวกับผู้ประกอบการทางธุรกิจประเภทต่างๆ เชิญวิทยากร
เช่น
คุณพ่อพี่ออดี้
– ธุรกิจยางรถยนต์
คุณแม่พี่โมกข์
– ธุรกิจออนไลน์
คุณพ่อน้องเซน
– ธุรกิจโรงแรม
คุณแม่พี่ฟ้ากัล
– ธุรกิจขายตรง
คุณแม่พี่ไอดิน – นักบัญชี
คุณพ่อพี่เจตต์
– ทนายความ
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในรูปแบบ Mind Mapping
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนคิดว่าจะสามารถจัดการบริหารธุรกิจของห้องเรียน (เลี้ยงไก่ไข่
เลี้ยงปลาดุก) ได้อย่างไร
-
ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม
(กลุ่มเลี้ยงไก่ไข่ และกลุ่มเลี้ยงปลาดุก)
เพื่อวางแผนการจัดการบริหารธุรกิจของห้องเรียน
-
นักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม นำเสนอแผนการจัดการบริหารธุรกิจของห้องเรียน
-
นักเรียนทั้ง 2 กลุ่มลงมือปฏิบัติตามแผนการจัดการบริหารธุรกิจของห้องเรียน
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
-
การเข้าร่วมเสวนาเกี่ยวกับผู้ประกอบการทางธุรกิจประเภทต่างๆ
-
การวางและปฏิบัติตามแผนการจัดการบริหารธุรกิจของห้องเรียน
ชิ้นงาน :
-
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในรูปแบบ Mind Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจความแตกต่างในการทำธุรกิจ
และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสามารถวางแผนและจัดการบริหารธุรกิจของห้องเรียน
(เลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยง
ปลาดุก) ได้
ทักษะ :
-
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
-
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
- คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหา
คุณลักษณะ
-
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
กล้าแสดงความคิดเห็น
-
รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
|
|
9
22 - 26
ธ.ค. 2557
|
โจทย์ : การสรุปและ
เผยแพร่องค์ความรู้ ประเมินตนเอง
Key Questions
- นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นรับรู้อย่างไรให้น่าสนใจโดยที่ทุกคนได้มีส่วนร่วมและเกิดการเรียนรู้
- อะไรที่นักเรียนทำได้ดีแล้ว
อะไรที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
เครื่องมือคิด
Round Rubin
เลือกวิธีการถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter 3
Show and Share
นำเสนอข้อมูลและรูปแบบวิธีการถ่ายทอดเรื่องราวที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
Mind Mapping
สรุปการเรียนรู้ Quarter 3
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- กระดาษ 80 ปอนด์
- ชุดและอุปกรณ์ที่นักเรียนเตรียมมาสำหรับการแสดง
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมที่เกิดขึ้นในสัปดาห์ที่ผ่านมาและตลอดทั้ง Quarter ที่ 3
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter 3 มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
- นักเรียนร่วมกันระดมความคิดเกี่ยวกับการสรุปสิ่งที่เรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter
3 เพื่อมาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจ ( Round Rubin)
- นักเรียนแต่ละคนข้อมูลในรูปแบบการนำเสนอที่น่าสนใจ
อาทิเช่น Clip VDO ชาร์ตภาพเรื่องราว
ฯลฯ
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอความคืบหน้าของงานตนเอง
โดยให้เพื่อนและครูร่วมนำเสนอความคิดเห็น เพื่อเพิ่มเติมประเด็นต่างๆ
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมที่ได้เรียนรู้
ครูและนักเรียนร่วมสรุปตอบคำถามสิ่งที่อยากรู้
- นักเรียนทำ Mind
Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียนQuarter 3
- นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์ประเมินตนเอง
พร้อมทั้งเขียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- การวางแผนสรุปงานในรูปแบบต่างๆที่น่าสนใจ
- การวางแผนการทำงาน
- การประเมินตนเอง
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สารคดีสั้น ถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน Quarter
3
- ประเมินตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
สรุปสิ่งที่ตนเองเข้าใจและถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างมีเหตุผล น่าสนใจ
รวมทั้งสามารถประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องได้
ทักษะ :
-
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นส่วนบุคคลต่อวงสนทนากลุ่ม
ทักษะการสื่อสาร
สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้อย่างมีคุณค่า
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติต่อหลักสำคัญของการเรียนรู้ด้านการนำเสนอข้อมูลที่มีคุณค่า
- การอธิบายความหลากหลายของข้อมูล
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์สาระการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “เงิน เงิน เงิน ” ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
Quarter 3 ภาคเรียนที่
2 ปีการศึกษา 2557
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
สร้างฉันทะ
สร้างแรงบันดาลใจ
-
เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
-
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
-
สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
|
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน
แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน
ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.2/9)
|
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1
ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส1.2
- มีมรรยาทของความเป็น ศาสนิกชนที่ดี
(ส1.2
ม.2/2)
มาตรฐาน ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2
ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม.2/2)
-
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ (ส 4.1 ม.3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ
เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (ส 4.2 ม.2/1)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /1)
-
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /2 )
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (ง 1.1 ม.2 /3 )
-
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4-6 /1 )
-
สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6 /2 )
-
มีทักษะในการจัดการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /3 )
-
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /4 )
-
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต
(ง 1.1 ม.4
/5 )
-
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1
ม.4-6 /6 )
|
มาตรฐาน พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์
สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1
ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1 )
มาตรฐาน พ 3.1
-
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม
คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน (พ 3.1 ม.3/2)
มาตรฐาน พ 3.2
-
เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง
(พ 3.2 ม.2/2)
-
มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (พ 3.2 ม.3/3)
-
นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้
(พ 3.2 ม.3/5)
|
มาตรฐาน ศ1.1
-
วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา
น้ำหนัก และวรรณะสี
–สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ
เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (ศ 1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(ส 2.1 ม.2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม
สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1 ม.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(ส 2.1 ม.2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.2/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
ประวัติศาสตร์บุคคลสำคัญ สังคมวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
อัตราการแลกเปลี่ยน
สกุลเงิน
|
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน
แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน
ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.2/9)
|
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1
ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2
ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
ที่เกี่ยวข้องกับเงินได้
(ส 4.1 ม.2/2)
-
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับเงินและที่ตนเองสนใจ
(ส 4.1 ม.3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ
เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (ส 4.2 ม.2/1)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /1)
-
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /2 )
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (ง 1.1 ม.2 /3 )
-
สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ง 1.1 ม.3 /1)
-
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4-6 /1 )
-
สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6 /2 )
-
มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 ม.4-6 /3 )
-
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /4 )
-
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1
ม.4 /5 )
-
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1
ม.4-6 /6 )
มาตรฐาน ง 2.1
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ง 2.1 ม.2 /4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้ (ง 3.1 ม.3 /3)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
(ง 3.1 ม.3 /4)
-
ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต(ง
3.1 ม.4-6/9)
-
อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม.4-6/13)
|
มาตรฐาน พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์
สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1
ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1 )
มาตรฐาน พ 3.1
-
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม
คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน (พ 3.1 ม.3/2)
มาตรฐาน พ 3.2
-
มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (พ 3.2 ม.3/3)
-
นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้ (พ 3.2 ม.3/5)
|
มาตรฐาน ศ1.1
-
วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา
น้ำหนัก และวรรณะสี
–สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ
เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (ศ 1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(ส 2.1 ม.2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม
สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1 ม.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(ส 2.1 ม.2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.2/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
- ระบบเศรษฐกิจและการเมือง
- ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
|
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน
แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน
ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.2/9)
|
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1
ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2
ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
ที่เกี่ยวข้องกับเงินได้
(ส 4.1 ม.2/2)
-
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับเงินและที่ตนเองสนใจ
(ส 4.1 ม.3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ
เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (ส 4.2 ม.2/1)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /1)
-
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /2 )
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (ง 1.1 ม.2 /3 )
-
สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ง 1.1 ม.3 /1)
-
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4-6 /1 )
-
สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6 /2 )
-
มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 ม.4-6 /3 )
-
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /4 )
-
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1
ม.4 /5 )
-
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1
ม.4-6 /6 )
มาตรฐาน ง 2.1
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ง 2.1 ม.2 /4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้ (ง 3.1 ม.3 /3)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
(ง 3.1 ม.3 /4)
-
ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต(ง
3.1 ม.4-6/9)
-
อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม.4-6/13)
|
มาตรฐาน พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์
สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1
ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1 )
มาตรฐาน พ 3.1
-
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม
คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน (พ 3.1 ม.3/2)
มาตรฐาน พ 3.2
-
มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (พ 3.2 ม.3/3)
-
นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้ (พ 3.2 ม.3/5)
|
มาตรฐาน ศ1.1
-
วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา
น้ำหนัก และวรรณะสี
–สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ
เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (ศ 1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(ส 2.1 ม.2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม
สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1 ม.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(ส 2.1 ม.2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.2/2)
|
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : "เงิน
เงิน เงิน"
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
สิ่งที่รู้แล้ว
|
สิ่งที่อยากเรียนรู้
|
- ธนบัตรและเหรียญของแต่ละประเทศต่างกัน
-
เงินสามารถชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย
-
การลงทุนเพื่อให้ได้ผลกำไร
-
การทำธุรกิจต้องมีการวางแผน
-
เงินเป็นสิ่งที่ทุกคนใช้ในชีวิตประจำวันเงิน
-
เงินของแต่ละประเทศมีขนาด ค่าต่างกัน
-
เงินสามารถใช้ลงทุนทำธุรกิจ การซื้อขาย
-
ประเทศไทยมีหน่วยเงินเป็นบาท
-
การค้าขายต้องดูตลาด
-
เงินแต่ละประเทสมีรูปบุคคลสำคัญไม่ซ้ำกัน
-
เงินเป็นสื่อในการแลกเปลี่ยน
-
เงินมีการเปลี่ยนไปตามยุคสมัย
-
การออมเป็นการวางแผนทางการเงิน
-
เราต้องทำงานถึงจะได้เงิน
|
-
การเล่นหุ้นทำอย่างไร
-
อยากรู้การผลิตธนบัตรและเหรียญ
-
อยากรู่ว่าเราไปต่างประเทศจะแลกเงินตราอย่างไร
-
การทำธุรกิจประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
-
สถานที่ท่องเที่ยว บุคคลที่อยู่ในเงินมีความสำคัญอย่างไร
-
อยากรู้ประวัติความเป็นมาของเงิน
-
ถ้าไม่มีเงินเราจะอยู่ได้ไหม
-
ทำไมต้องมีเงิน และเงินมีความสำคัญอย่างไร
-
ถ้าโลกนี้ไม่มีเงินจะอยู่ได้อย่างไร
-
ค่าของเงินแต่ละประเทศแตกต่างกันอย่างไร
-
ทำไมสมัยนี้ไม่ใช้เหรียญสลึงหรือแบงค์เก่า
-
ทำไมต้องมีการจัดการด้านการเงิน
-
ทำไมต้องมีธุรกิจ
-
เงินเฟ้อเป็นอย่างไร
-
ใครเป็นคนคิดค้นธนบัตรและเหรียญ
-
เงินทำจากอะไร และมีความพิเศษอย่างไร
- ทำไมแต่ละประเทศจึงใช้เงินคนละหน่วย
-
เงินประเทศใดมีค่ามากที่สุด
-
ข้อดีข้อเสียของการทำธุรกิจ
|